รองศาสตราจารย์.สิทธิกร ศักดิ์แสง
– มัธยมศึกษา 1-6 โรงเรียนสวนศรีวิทยา อ.หลังสวน จ.ชุมพร
– นิติศาสตรบัณฑิต ( น.บ.) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
– นิติศาสตรมหาบัณฑิต (น.ม.) สาขากฎหมายมหาชน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
– สัมฤทธิบัตรหลักสูตรพนักงานคดีปกครองสำหรับบุคคลทั่วไป จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ร่วมกับสำนักงานศาลปกครอง
– วิทยากรหลักสูตรการพัฒนานักวิจัย (Training for the trainers) สภาวิจัยแห่งชาติ
– อาจารย์ประจำและเลขานุการคณะนิติศาสตร์ วิทยาลัยสันตพล
อดีตสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)
พ.ศ. 2549
– ผู้ช่วยเลขาอนุกรรมาธิการการป้องกันและปราบปรามทุจริตประพฤติมิชอบ คณะที่ 1 สภาผู้แทนราษฎร
– ที่ปรึกษาอนุกรรมาธิการอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการไกล่เกลี่ยคดีอาญาในชั้นพนักงานสอบสวน ในคณะกรรมาธิการการยุติธรรมและการตำรวจ วุฒิสภา
– ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการพิจารณากฎหมายเกี่ยวกับที่ดินในคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาแก้ไขปัญหาที่ดินทำกิน การออกเอกสารสิทธิ์ และกฎหมายเกี่ยวกับที่ดินและป่าไม้ สภาผู้แทนราษฎร
– อนุกรรมาธิการอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการไกล่เกลี่ยคดีอาญาในชั้นพนักงานสอบสวน ในคณะกรรมาธิการการยุติธรรมและการตำรวจ วุฒิสภา
– รองศาสตราจารย์ประจำ คณะนิติศาสตร์ วิทยาลัยตาปี
– กรรมการและเลขานุการบริหารหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ วิทยาลัยตาปี
– กรรมการวิจัย วิทยาลัยตาปี
– กรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการ คณะนิติศาสตร์ วิทยาลัยตาปี
– กรรมการและเลขานุการพิจารณาให้ทุนสนับสนุนผลิตตำรา วิทยาลัยตาปี
– ผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการประจำวิทยาลัยตาปี
– ผู้อำนวยการศูนย์บริการเผยแพร่ความรู้ทางด้านกฎหมายและการวิจัยแก่ประชาชน
คณะนิติศาสตร์ วิทยาลัยตาปี
– ผู้อำนวยการสำนักงานวิจัย มหาวิทยาลัยตาปี
– ผู้อำนวยการสำนักงานบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยตาปี
– ผู้ช่วยผู้ดำเนินการสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คนที่ 5 นายธีระชาติ ปางวิรุฬห์รักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ จังหวัดชุมพร
– ที่ปรึกษาอนุกรรมาธิการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ คณะที่ 2 สภาผู้แทนราษฎร
ปัจจุบัน
– ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี
– กรรมการจรรยาบรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
– กองบรรณาธิการวารสารวิจัย มรส. มหาวิทยาลัยราชภัฏสราษฎร์ธานี
– กรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
– วิชา หลักกฎหมายมหาชน
– วิชา กฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง
– วิชา กฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
– วิชา กฎหมายปกครองท้องถิ่น
– วิชา ประวัติศาสตร์กฎหมาย
– วิชา นิติปรัชญา
– วิชา หลักกฎหมายเอกชน
– วิชา ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ทุกรายวิชาที่สอนมีตำรา เอกสารคำสอนและเอกสารประกอบการสอน
– เรืองศักดิ์ ศักดิ์แสง (สิทธิกร ศักดิ์แสง) “องค์การบริหารส่วนตำบลกับการกระจายอำนาจ
การจัดการทรัพยากรป่าไม้” มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2543
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “ปัญหาการใช้ดุลพินิจและอำนาจผูกพันที่ราชการส่วนกลางราชการ
ส่วนภูมิภาคในการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการที่มีผลกระทบต่อเทศบาล : ศึกษา
กรณีเทศบาลในจังหวัดชุมพร” รายงานวิจัยเสนอต่อวิทยาลัยตาปี ประจำปีการศึกษา
2548
– พรเลิศ สุทธิรักษ์และสิทธิกร ศักดิ์แสง “การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน
: กรณีศึกษาเปรียบเทียบการให้สิทธิ์ประชาชนเข้าชื่อเสนอกฎหมายตามรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 กับ 2550” รายงานวิจัยเสนอต่อวิทยาลัยปี
ประจำปีการศึกษา 2551
– สิทธิกร ศักดิ์แสงและคณะ “กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์กับการระงับข้อพิพาท
คดีอาญาในชั้นพนักงานสอบสวน” รายงานวิจัยเสอนต่อสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา,
2553
– สุรินทร์ ทองแท่น อุทิศ สุภาพ และสิทธิกร ศักดิ์แสง “การขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ก่อให้เกิดปัญหาในการบังคับใช้กฎหมายทำให้ป่าไม้ในเขตพื้นที่สุราษฎร์ธานีลดลง” รายงานวิจัยเสนอต่อวิทยาลัยตาปี ปีการศึกษา 2554
– โกเมศ ขวัญเมือง สิทธิกร ศักดิ์แสง วิชุนี พันธุ์น้อย กชพร คงพยัคฆ์ และจีรวัฒน์ แก้วภูมิแห่ “ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นตำบลตะเคียนทอง อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี” รายงานวิจัยเสนอต่อองค์การบริหารส่วนตำบลตะเคียนทอง ประจำปี 2555
กฎหมายทั่วไป” กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2549 พิมพ์ครั้งที่ 2 สำนักพิมพ์นิติธรรม,
2553
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “หลักกฎหมายหมายชน” ได้รับทุนสนับสนุนผลิตตำรา วิทยาลัยตาปี
ปีการศึกษา 2552 และได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ กรุงทพฯ : สำนักพิมพ์นิติธรรม,2554
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “กฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง”
ทุนสนับสนุนการผลิตตำรา วิทยาลัยตาปี ปีการศึกษา 2553
หนังสือ
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “ศาสตร์แห่งการตีความกฎหมาย” กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เดือนตุลา,2552
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “การปกครองแบบนิติรัฐที่ยึดหลักหลักนิติธรรมกับปรัชญากฎหมายที่มีอิทธิพลต่อการจัดทำและการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญไทย” กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เดือนตุลา,2556
–
เอกสารคำสอน
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “กฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง” คณะนิติศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี,2558
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “กฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง” คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี,2558
–
เอกสารประกอบการสอน
– สิทธิกร ศักดิ์แสง วิชา “กฎหมายแพ่ง : ลักษณะทั่วไป” คณะนิติศาสตร์ วิทยาลัยตาปี, 2551
– สิทธิกร ศักดิ์แสง วิชา “กฎหมายปกครอง” คณะนิติศาสตร์
วิทยาลัยตาปี, 2555
– สิทธิกร ศักดิ์แสง วิชา “นิติปรัชญา” คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี,
2557
– สิทธิกร ศักดิ์แสง วิชา “กฎหมายปกครองท้องถิ่น” คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 2558
จัดการทรัพยากรป่าไม้ตามเจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540”
วารสารข่าวสารป่าชุมชน ปีที่ 10 ฉบับที่ 19 เดือน พฤศจิกายน 2546 ศูนย์ฝึกอบรมวนศาสตร์
ชุมชนแห่งเอเชียแปซิฟิค (RECOFTC) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “สิทธิชุมชน : กับการรับรองสิทธิเสรีภาพในการจัดการทรัพยากรป่า
ไม้ตามเจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540” วารสาร รัฐสภาสาร ปี
ที่ 54 ฉบับที่ 1เดือน มกราคม 2549
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “ปัญหาผู้ตีความตามรัฐธรรมนูญ กรณีพระราชกฤษฎีกาเลือกตั้ง
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร” วารสารกฎหมายใหม่ วารสารรายเดือน ปีที่ 4 ฉบับที่ 73
กรกฎาคม 2549
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “การยกเลิกของกฎหมายนอกวิถีทางรัฐธรรมนูญขัดต่อหลักนิติรัฐ
หรือไม่” วารสารกฎหมาย คณะนิติศาสตร์ วิทยาลัยตาปี ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (เมษายน –
มิถุนายน 2550)
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “ศาลเป็นผู้สร้างหลักกฎหมายได้หรือไม่ในระบบกฎหมายไทย” วารสาร
กฎหมายใหม่ วารสารรายเดือน ปีที่ 5 ฉบับที่ 84 พฤษภาคม 2550 และลงตีพิมพ์อีกครั้งใน
วารสารรัฐสภาสาร ปีที่ 55 ฉบับที่ 8 สิงหาคม 2550
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “ข้อสังเกตเกี่ยวกับการตีความในระบบกฎหมายไทย” วารสาร
กฎหมาย คณะนิติศาสตร์ วิทยาลัยตาปี ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – สิงหาคม 2550)
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “สิทธิมนุษยชนในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540 กับ การ
ต่อสู้เพื่อคำนิยามปรัชญากฎหมายเชิงอุดมคติ” วารสารสงขลานครินทร์
ฉบับ สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 เม.ย. – มิ.ย. 2550
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “ปัญหาการใช้กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์กับการระงับข้อ
พิพาทคดีอาญาในขั้นตอนก่อนฟ้องคดี” วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 มิถุนายน 2550
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “กฎหมายกับความยุติธรรม” วารสารกฎหมายใหม่ วารสารรายเดือน ปีที่
5 ฉบับที่ 89 พฤศจิกายน 2550
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “ข้อสังเกตเกี่ยวกับการตีความกฎหมาย : กรณีศึกษาการตีความ
กฎหมาย ย้อนหลังการตัดสิทธิเลือกตั้ง (สมัครรับเลือกตั้ง) กรรมการบริหารพรรคไทย
รักไทย” วารสารรัฐสภาสารปีที่ 55 ฉบับที่ 12 ธันวาคม 2550
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “การศึกษารัฐในแง่สังคมศาสตร์และรัฐในแง่นิติศาสตร์” วารสารรัฐสภา
สาร ปีที่ 65 ฉบับที่ 4 เมษายน 2551
– โกเมศ ขวัญเมืองและสิทธิกร ศักดิ์แสง “ข้อสังเกตบางประการ เหตุใดศาลปกครองได้
ออกคำสั่งคุ้มครองชั่วคราวคดีฟ้องเพิกถอนมติคณะรัฐมนตรีและแถลงการณ์ร่วมร่วม ไทย-กัมพูชาเกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร” วารสารกฎหมายใหม่ ปีที่ 6 ฉบับที่ 97 กรกฎาคม 2551
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “สถานะทางกฎหมายของประกาศคณะปฏิวัติ… ?” วารสารกระบวนการยุติธรรม เล่มที่ 1 ปีที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2552
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “การปกครองแบบนิติรัฐที่ยึดหลักนิติธรรมในประเทศไทย” วารสารรัฐสภาสาร ปีที่ 57 ฉบับที่ 6 มิถุนายน 2552
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “การนำกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ในการระงับข้อพิพาทคดีอาญาในชั้นสอบสอบสวนมาใช้ในประเทศไทย” วารสารรัฐสภาสาร ปีที่ 57 ฉบับที่ 10 ตุลาคม 2552
– สิทธิกร ศักดิ์แสงและคณะ “วิเคราะห์เปรียบเทียบพรรคการเมืองและกฎหมายพรรคการเมืองของประเทศไทยในอดีตถึงปัจจุบัน” วารสารรัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 7 กรกฎาคม 2553
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “แนวคิดปรัชญากฎหมายที่มีอิทธิพลต่อการจัดทำรัฐธรรมนูญ 2550” วารสารวิชาการวิทยาลัยตาปี ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2553
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “วิเคราะห์เปรียบเทียบปรัชญากฎหมายที่มีอิทธิพลต่อการจัดทำรัฐธรรมนูญ 2540 กับ 2550” วารสารรัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 12 ธันวาคม 2553
– สิทธิกร ศักดิ์แสงและถาวร พูลมาศ “การวิเคราะห์การแบ่งแยกฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร : กรณีศึกษาประเทศลาวกับประเทศเวียดนาม” วารสารรัฐสภาสาร ปีที่ 59 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ์ 2554
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “ข้อสังเกตในเรื่องความยุติธรรมที่มีความสัมพันธ์กับกฎหมายอาญา”วารสารรัฐสภาสาร ปีที่ 59 ฉบับที่ 3 เดือนมีนาคม 2554
– สิทธิกร ศักดิ์แสงและคณะ “ข้อสังเกตเกี่ยวกับการตีความกฎหมาย : กรณีศึกษาคำ
วินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ที่ 27/2544” วารสารรัฐสภาสาร ปีที่ 59 ฉบับที่ 8 เดือน สิงหาคม
2554
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยกับการนำหลักการปกครองแบบนิติรัฐที่ยึดหลักนิติธรรม” วารสารรัฐสภาสาร ปีที่ 59 ฉบับที่ 12 เดือน ธันวาคม 2554
– สิทธิกร ศักดิ์แสงและคณะ “ผลกระทบของการยกเลิกรัฐธรรมนูญโดยการปฏิวัติรัฐประหารต่อความสมบูรณ์ของกฎหมาย : กรณีศึกษาการปฏิวัติรัฐประหารของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549” วารสารรัฐสภาสาร ปีที่ 60 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ์ 2555
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “วิเคราะห์การแก้ไขเพิ่มเติมและการยกเลิกรัฐธรรมนูญของประเทศ
ไทย : อนาคตของประเทศไทย” วารสารรัฐสภาสาร ปีที่ 60 ฉบับที่ 5 เดือนพฤษภาคม 2555
สิทธิกร ศักดิ์แสง “สิทธิเสรีภาพและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ” วารสาร
รัฐสภาสารปีที่ 60 ฉบับที่ 9 กันยายน 2555
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “การใช้กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์กับการระงับข้อพิพาท
คดีอาญาที่มีใช้ในชั้นสวบสวนของประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายซิวิลลอว์ (Civil Law)กับ
คอมมอนลอว์ (Common Law)” วารสารรัฐสภาสารปีที่ 61 ฉบับที่ 8 กันยายน 2556
– สิทธิกร ศักดิ์แสงและ ณฐภัทร ถิรารางค์กูล “แนวคิดและทฤษฎีในทางกฎหมายรัฐธรรมนูญว่าด้วยอำนาจอธิปไตยที่ปรากฏในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550”
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ฉบับที่ 6 เล่ม 1
มกราคม-มิถุนายน 2557
– สิทธิกร ศักดิ์แสงและภูภณัช รัตนชัย “อำนาจสำคัญในทางกฎหมายรัฐธรรมนูญ :
กรณีศึกษาอำนาจที่ได้รับมอบมาจากรัฐธรรมนูญในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550”วารสารรัฐสภาสารปีที่ 62 ฉบับที่ 5 พฤษภาคม 2557
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “วิเคราะห์เปรียบเทียบโครงสร้างและการเข้าสู่ตำแหน่งของสมาชิก
รัฐสภาตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญในการปกครองระบอบประชาธิปไตยของประเทศ
ไทย” วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม-ธันวาคม 2557
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “วิเคราะห์ระบบรัฐบาลแบบรัฐสภาของประเทศไทย : รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในอนาคต” วารสารรัฐสภาสาร ปีที่ 63 ฉบับที่ 3 เดือนมีนาคม 2558
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “การควบคุมกฎหมายมิให้ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญโดยศาลรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 เพื่อการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ในอนาคต” วารสารกระบวนการยุติธรรม ปีที่ 8 เล่ม 2, 2558
บทความวิจัย
– เรืองศักดิ์ ศักดิ์แสง ( สิทธิกร ศักดิ์แสง ) “การกระจายอำนาจการจัดการทรัพยากรป่าไม้
ให้แก่องค์การบริหารส่วนตำบลตามเจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ.2540” วารสารข่าวสารป่าชุมชน ปีที่ 12 ฉบับที่ 20 เดือน มกราคม 2548 ศูนย์ฝึกอบรม
วนศาสตร์ชุมชนแห่งเอเชียแปซิฟิค (RECOFTC) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “ปัญหาการใช้ดุลพินิจและอำนาจผูกพันที่ราชการส่วนกลาง
ราชการส่วนภูมิภาคในการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการที่มีผลกระทบต่อ เทศบาล : ศึกษากรณีเทศบาลในจังหวัดชุมพร” วารสารสุทธิปริทัศน์ ฉบับที่ 63-64 มกราคม – สิงหาคม 2550มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
พรเลิศ สุทธิรักษ์และสิทธิกร ศักดิ์แสง “การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน : กรณีศึกษาเปรียบเทียบการให้สิทธิประชาชนเข้าชื่อเสนอกฎหมายตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540กับ2550” วารสารรัฐสภาสาร ปีที่ 56 ฉบับที่ 10 ตุลาคม 2551
– สิทธิกร ศักดิ์แสงและคณะ “กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์กับการระงับข้อพิพาท คดีอาญาในชั้นพนักงานสอบสวน” วารสารรัฐสภาสาร ปีที่ 56 ฉบับที่ 5 พฤษภาคม 25
– สุรินทร์ ทองแท่น อุทิศ สุภาพ และสิทธิกร ศักดิ์แสง “การขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ก่อให้เกิดปัญหาในการบังคับใช้กฎหมายทำให้ป่าไม้ในเขตพื้นที่สุราษฎร์ธานีลดลง” วารสารบทบัณฑิตย์ เนติบัณฑิตยสภา
การประชุมเสนอผลงานวิชาการทางสาขานิติศาสตร์
– สิทธิกร ศักดิ์แสง “สถานะทางกฎหมายของประกาศคณะปฏิวัติ… ?” ได้รับพิจารณาให้
เสนอผลงานทางวิชาการด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมระดับคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ โครงการสัมมนาทางวิชาการด้านนิติศาสตร์ โดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สำนักงานกิจการยุติธรรม สภานิติศึกษา ณ โรงแรมรามาการ์เดนส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร วันพุธที่ 30 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2551
– พรเลิศ สุทธิรักษ์และสิทธิกร ศักดิ์แสง “การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน :
กรณีศึกษาเปรียบเทียบการให้สิทธิประชาชนเข้าชื่อเสนอกฎหมายตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 กับ 2550” การประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานสาขา
นิติศาสตร์ครั้งที่ 2 คณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
วันพุธที่ 28 เมษายน 2553
– สิทธิกร ศักดิ์แสงและคณะ “กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์กับการระงับข้อพิพาท
คดีอาญาในชั้นพนักงานสอบสวน” การประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานสาขานิติศาสตร์ครั้งที่ 3 คณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ วันพุธที่ 27 เมษายน 2554